The Epistemological problem is that the Sakka state is religious in the Tripitakaสารบาญ ๑.บทนำ ๒.เราจะได้อย่างไรว่าเป็นความจริง ๒.๑ ต้นกำเนิดของความรู้ของมนุษย์ ๒.๒ องค์ประกอบของความรู้ของมนุษย์ ๒.๓ วิธีพิจารณาความจริง ๒.๔ ความสมเหตุสมผลของความรู้๓. การวิเคราะห์ข้อเท็จจริง๔. บทสรุปผลการวิจัย
บทนำ
โดยทั่วไป แม้ว่าเราจะได้ยินข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการมีอยู่ของแคว้นสักกะ (Sakka country) จากพระธรรมเทศนาของพระสงฆ์ ทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานในวันธรรมสวนะ ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยพระพุทธเจ้าจวบจนปัจจุบันก็ตาม แต่เมื่อได้ฟังพระธรรมเทศนาแล้ว ชาวพุทธทั่วโลกต่างก็ยอมรับความจริงของการมีอยู่ของแคว้นสักกะโดยปริยาย ไม่มีสาเหตุที่จะต้องสงสัยข้อเท็จจริงในเรื่องนี้อีกต่อไป อย่างไรก็ตาม ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงสอนว่าเมื่อได้ยินข้อเท็จจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ได้ฟังตามกันมา เราไม่ควรเชื่อทันที เราควรสงสัยสิ่งนั้นเสียก่อน จนกว่าเราจะได้สืบเสาะข้อเท็จจริงและรวบรวมหลักฐานต่าง ๆ
เมื่อมีหลักฐานเพียงพอแล้ว เราก็จะใช้หลักฐานเหล่านั้น เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์โดยอนุมานความรู้จากหลักฐานต่าง ๆ เพื่อพิสูจน์ความจริงในเรื่องนั้นโดยการใช้เหตุผล มาอธิบายความจริงในเรื่องนั้น อย่างสมเหตุสมผลต่อไป ถ้าไม่มีการสืบเสาะหาข้อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานต่าง ๆ แล้ว การฟังข้อเท็จจริงจากพยานเพียงคนเดียวข้อเท็จจริงนั้นก็ขาดความสมเหตุสมผล เพราะโดยทั่วไป มนุษย์มีอายตนะภายในร่างกายนั้น มีข้อจำกัดในการรับรู้และมักลำเอียงเข้าข้างผู้อื่น เป็นต้น เมื่อมีการโต้แย้งหรือหักล้างข้อเท็จจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง พยานผู้นั้นอาจให้การยื่นยันข้อเท็จจริงเข้ากับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ คำตอบที่ได้จากการวิเคราะห์ โดยการอนุมานความรู้จากหลักฐานต่าง ๆ จึงมีข้อพิรุธน่าสงสัยไม่น่าเชื่อถือ นักปรัชญาไม่ยอมรับว่าคำให้การเรื่องนั้นเป็นความจริงได้
๒.เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นความจริง
เมื่อความรู้ทางปรัชญาเป็นของมนุษย์ ที่เรียกว่า "นักปรัชญา" แต่ธรรมชาติของชีวิตมนุษย์มีอาตนะภายในร่างกายมีข้อจำกัดในการรับรู้สิ่งที่ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตและมนุษย์มักมีอคติต่อผู้อื่น เนื่องจากความโง่เขลา ความกลัว ความเกลียดชัง และความรัก ทำให้ชีวิตของพวกเขามืดมนและขาดปัญญาหยั่งรู้ความจริงของชีวิต จึงไม่มีความสามารถคิด โดยการใช้เหตุผลความจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้เข้าใจได้หรือใช้เหตุผลแยกแยะเรื่องใดจริงหรือเท็จได้ ทำให้เกิดการตัดใจที่ผิดพลาดก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของตนเองได้มีมูลค่าหลายแสนล้านต่อไป
ตัวอย่างเช่น ในสมัยพุทธกาล พราหมณ์บางคนเป็นนักตรรกะ นักปรัชญา มักจะแสดงธรรมในเรื่องใดเรื่องตามปฏิภาณของตนเองและคาดคะเนความจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามหลักเหตุผล แต่นักตรรกะ นักปรัชญาเหล่านั้นมักจะใช้เหตุผลถูกบ้าง ผิดบ้าง เป็นอย่างนั้นบ้าง เป็นอย่างนี้บ้าง เป็นอย่างนั้น เมื่อการใช้เหตุผลอธิบายความจริงของคำตอบยังไม่ชัดเจนว่าเกิดขึ้นอย่างไร คำให้การของพยานนั้นย่อมขาดความน่าเชื่อถือ ไม่สามารถยืนยันความจิงได้ ดังนั้น เมื่อข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ ขาดความน่าเชื่อถือจึงเป็นหน้าที่ของญาณวิทยาที่จะต้องให้คำตอบในเรื่องนี้ เพราะญาณวิทยามีความสนใจศึกษาต้นกำเนิดความรู้ของมนุษย์ องค์ประกอบของความรู้ของมนุษย์ วิธีแสวงหาความรู้ของมนุษย์และความสมเหตุสมผลของความรู้ของมนุษย์ เป็นต้น โดยทั่วไปแล้ว ทุกหลักสูตรที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยทั่วโลกนั้น เป็นความรู้ของมนุษย์ที่เรีกว่า นักปรัชญา นักวิชาการด้านศาสนา นักวิทยาศาสตร์ และพระพุทธเจ้า เป็นต้น ตามหลักญาณวิทยา เราสามารถอธิบายกระบวนการพิจารณาความจริงได้ดังนี้
๒.๑.ต้นกำเนิดความรู้ของมนุษย์นั้น เมื่อเราศึกษาความเป็นของความรู้ของมนุษย์แล้ว ตามหลักฐานที่ปรากฏอยู่ในพระะไตรปิฎกมหาจุฬาลงกรณแล้ว ตามคำสอนของพระพุทธเจ้านั้นเรื่อง "ขันธ์ห้า" นั้น ชีวิตมนุษย์เกิดจากปัจจัยทางร่างกายและจิตใจของมนุษย์ จิตใจอาศัยร่างกายหรือกายอาศัยจิตใจในการรับรู้ (ที่เรียกว่า"วิญญาณ") เรื่องราวต่าง ๆ ที่เข้ามาในชีวิต และสั่งสมเรื่องราวเหล่านั้นเป็นหลักฐานอยู่ในจิตใจของตน(ที่เรียกว่า"สัญญา")แล้วจิตใจก็วิเคราะห์หลักฐานทางอารมณ์โดยอนุมานความรู้ (ที่เรียกว่าสังขาร) เพื่อหาเหตุผลมาอธิบายความจริงในเรื่องนั้น และสั่งสมเป็นความรู้อยู่ในจิตใจของตนต่อไป ดังนั้น ต้นกำเนิดความรู้ของมนุษย์ เกิดเหตุปัจจัยทางร่างกายและจิตใจในการรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ เข้ามาในชีวิตแล้ว สั่งสมอยู่ในจิตใจของมนุษย์นั่นเอง แต่เรื่องราวต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามาในชีวิตของมนุษย์นั้น
๒. องค์ประกอบความรู้ของมนุษย์ เมื่อมนุษย์มีธรรมชาติเป็นผู้คิดจากเรื่องราวต่าง ๆ ที่รับรู้ผ่านเข้าในชีวิต และสั่งสมอยู่ในจิตใจของตน จิตใจของมนุษย์เมื่อรู้สิ่งใดก็คิดจากสิงนั้นว่าอะไร เป็นต้น ตามข้อเท็จจริงเกี่ยวกับมนุษย์เราแยกองค์ประกอบความรู้ได้ดังนี้๑.มนุษย์คนใด ๒. รับรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ๓. สั่งสมเป็นความรู้ในจิตใจ
๒.๑. มนุษย์คนใด โดยทั่วไปแล้ว มนุษย์เกิดจากปัจจัยทางร่างกายและจิตใจรวมกันในครรภ์มารดาเป็นวลา ๙ เดือนแล้วจากครรภ์มารดาเป็นมนุษย์คนใหม่ ร่างกายและจิตใจต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน หากร่างกายหมดสภาพการใช้งานและจิตใจพึ่งพาอาศัยไม่ได้ก็ไปเกิดในโลกอื่นต่อไปตามกฎธรรมชาิของชีวิตมนุษย์
๒.๒ รับรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เมื่อร่างกายและจิตใจเป็นปัจจัยในการรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ที่เข้าในชีวิต จากการศึกษาหาความรู้โดยการอ่าน การเขียน การพูด และการบรรยาย หรือการลงมือปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมาย
๒.๓ การสั่งสมความรูู้อยูู่ในจิตใจ เมื่อธรรมชาติชีวิตมนุษย์มีร่างกายและจิตใจเป็นปัจจัยในการรับรู้แล้ว หลักจากรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ก็เก็บสั่งสมเป็นความรู้ในจิตใจ
เมื่อผู้เขียนศึกษาหลักฐานในพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬา ฯ พยานวัตถุ และพยานที่ให้ความเห็นเชิงวิชาการไว้ เราได้ยินข้อเท็จจริงเบื้องต้นว่าแคว้นสักกะเป็นรัฐอิสระเล็ก ๆ ตั้งอยู่ติดเชิงเขาหิมาลัย มีอำนาจอธิปไตยในการปกครองประเทศเป็นของตนเอง โดยไม่ขึ้นตรงกับรัฐโกลิยะ ตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าโอกกากราชซึ่งเป็นกษัตริย์ปกครองรัฐโกลิยะ (โกฬิยะ) หลังจากทรงอภิเษกสมรสกับพระนางกัญญาทรงตัดสินพระทัย ที่จะมอบสิทธิและหน้าที่ในการปกครองรัฐโกลิยะให้กับพระโอรสของพระนางกัญญา และทรงโปรดให้พระโอรสของพระมเหสีองค์เก่าไปสร้างพระนครแห่งใหม่นามว่า "พระนครกบิลพัสดุ์แห่งแคว้นสักกะ" ตั้งอยู่ในป่าสาละริมฝั่งสระน้ำโบกขรณีซึ่งเป็นที่ราบลุ่มติดกับเชิงเขาของเทือกเขาหิมาลัย โดยมีแม่น้ำโรหินีเป็นเส้นแบ่งเขตแดนของรัฐสักกะกับรัฐโกลิยะโดยมีพรมแดนของรัฐสักกะ ทิศเหนือติดต่อกับเทือกเขาหิมาลัย ทิศตะวันออกติดต่อกับรัฐโกลิยะ ทิศตะวันตกติดต่อกับกับรัฐโกศล ส่วนทิศใต้ติดต่อกับรัฐโกศล ในสมัยของพระเจ้าโอกกากราชทรงปกครองรัฐโกลิยะ ทรงเลื่อมใสในศาสนาพราหมณ์เชื่อว่าพระพรหมเป็นเทพเจ้าผู้สร้างมนุษย์ และตรากฎหมายแบ่งชั้นวรรณะตามคำแนะนำของนักบวชพราหมณ์ปุโรหิตโดยอ้างว่าพระพรหมสร้างชั้นวรรณะให้กับผู้คนที่พระองค์ทรงสร้างขึ้นมา ได้แก่ วรรณะกษัตริย์ วรรณะพราหม์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร ให้ทำงานตามสิทธิและหน้าที่ตามวรรณะที่ตนเกิดเท่านั้น เมื่อรับฟังเท็จจริงได้เช่นนี้ ก็มีปัญหาที่จะต้องวิเคราะห์กันต่อไปว่า "เราจะรู้ได้อย่างไรว่านี่เป็นเรื่องจริง" เป็นเรื่องที่ผู้เขียนต้องค้นคว้าหาพยานหลักฐานกันต่อไปดังนี้เมื่อผู้เขียนศึกษาข้อมูลจากแหล่งของความรู้ในพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๕ [ฉบับมหาจุฬา ฯ ] มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์[๒๒]เมื่อข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับ ณ นิโครธาราม เขตกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ สมัยนั้นแล ท้องพระโรงหลังใหม่ที่พวกเจ้าศากยะผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ ทางให้สร้างเสร็จได้ไม่นาน ยังไม่มีสมณะ พราหม์หรือใคร ๆ ที่เป็นมนุษย์เข้าพักอาศัย ต่อมาพวกเจ้าศากยะ ผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ได้เสด็จเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วประทับนั่ง ณ ที่สมควรได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอประทานวโรกาสท้องพระโรงหลังใหม่ ที่พวกเจ้าศากยะผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ให้สร้างเสร็จได้ไม่นาน ยังไม่มีสมณะ พราหม์ หรือใคร ๆ ที่เป็นมนุษย์เข้าพักอาศัย ขอพระผู้มีพระภาคทรงใช้ท้องพระโรงนั้นเป็นปฐมฤกษ์แล้ว ข้อนั้นจะพึ่งเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลเพื่อสุขแก่พวกเจ้าศากยะผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ตลอดกาลนาน"
เมื่อผู้เขียนค้นคว้าข้อความจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬา ฯ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางสังคมในสมัยพุทธกาล ก็ได้ยินข้อเท็จจริงว่า เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในพระนครกบิลพัสดุ์ เจ้าศากยะผู้ครองพระนครกบิลพัสด์ุได้สร้างท้องพระโรงหลังใหม่ คำว่า "ท้องพระโรงหลังใหม่" หมายถึง ที่ทำการรัฐสภาแห่งศากยวงศ์ กล่าวคือ เมื่อรัฐสักกะได้สร้างชุมชนกบิลพัสดุ์ได้บึกแผ่นมั่นคง มีอาณาเขตแน่นอนของชุมชนที่สร้างขึ้นมาโดยใช้แม่น้ำโรหินีแบ่งเขตแดนระหว่างรัฐสักกะและรัฐโกลิยะได้อย่างชัดเจนแล้ว มีธรรมของกษัตริย์เป็นหลักในการบริหารปกครองประเทศแล้วตรากฎหมายจารีตประเพณีแบ่งผู้คนเป็น๔ วรรณะ ตั้งแต่ได้รับเอกราชจากรัฐโกลิยะตั้งแต่สมัยพระเจ้าโอกกากราช ดังนั้น เมื่อรัฐสักกะจึงมีอำนาจอธิปไตยเป็นของตัวเอง แต่ระบอบการปกครองรัฐโกลิยะนำมาใช้ในรัฐสักกะด้วย ในยุคพระเจ้าสุทโธทนะทรงเป็นกษัตริย์ปกครองรัฐสักกะ มีระบอบการปกครองแบบสามัคคีธรรม โดยมีสมาชิกรัฐสภาจากวรรณะกษัตริย์ มีส่วนร่วมในการบริหารปกครองรัฐสักกะและใช้อำนาจอธิปไตยทั้ง ๓ อำนาจผ่านรัฐสภาศายวงศ์ ในยุคนั้นที่ทำการของรัฐสภาปห่งราชวงศ์ศากยะเรียกเป็นภาษาบาลีว่า "สันถาคาร" ในภาษาไทยเรียกว่า"ท้องพระโรง" ส่วนภาษาสันสกฤตเรียกว่า "สัณฑาคาร" เป็นสถานที่ประชุมของสมาชิกรัฐสภาศากยวงศ์ซึ่งทำหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ ทำหน้าที่เป็นฝ่ายบริหารในการจัดการปัญหาประเทศ และทำหน้าที่เป็นฝ่ายตุลาการ โดยรัฐสภาศากยวงศ์ทำหน้าที่ตุลาการตัดสินอรรถคดีทั้งปวงที่เกิดขึ้นในรัฐสักกะ
บทนำ
โดยทั่วไป แม้ว่าเราจะได้ยินข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการมีอยู่ของแคว้นสักกะ (Sakka country) จากพระธรรมเทศนาของพระสงฆ์ ทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานในวันธรรมสวนะ ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยพระพุทธเจ้าจวบจนปัจจุบันก็ตาม แต่เมื่อได้ฟังพระธรรมเทศนาแล้ว ชาวพุทธทั่วโลกต่างก็ยอมรับความจริงของการมีอยู่ของแคว้นสักกะโดยปริยาย ไม่มีสาเหตุที่จะต้องสงสัยข้อเท็จจริงในเรื่องนี้อีกต่อไป อย่างไรก็ตาม ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงสอนว่าเมื่อได้ยินข้อเท็จจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ได้ฟังตามกันมา เราไม่ควรเชื่อทันที เราควรสงสัยสิ่งนั้นเสียก่อน จนกว่าเราจะได้สืบเสาะข้อเท็จจริงและรวบรวมหลักฐานต่าง ๆ
เมื่อมีหลักฐานเพียงพอแล้ว เราก็จะใช้หลักฐานเหล่านั้น เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์โดยอนุมานความรู้จากหลักฐานต่าง ๆ เพื่อพิสูจน์ความจริงในเรื่องนั้นโดยการใช้เหตุผล มาอธิบายความจริงในเรื่องนั้น อย่างสมเหตุสมผลต่อไป ถ้าไม่มีการสืบเสาะหาข้อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานต่าง ๆ แล้ว การฟังข้อเท็จจริงจากพยานเพียงคนเดียวข้อเท็จจริงนั้นก็ขาดความสมเหตุสมผล เพราะโดยทั่วไป มนุษย์มีอายตนะภายในร่างกายนั้น มีข้อจำกัดในการรับรู้และมักลำเอียงเข้าข้างผู้อื่น เป็นต้น เมื่อมีการโต้แย้งหรือหักล้างข้อเท็จจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง พยานผู้นั้นอาจให้การยื่นยันข้อเท็จจริงเข้ากับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ คำตอบที่ได้จากการวิเคราะห์ โดยการอนุมานความรู้จากหลักฐานต่าง ๆ จึงมีข้อพิรุธน่าสงสัยไม่น่าเชื่อถือ นักปรัชญาไม่ยอมรับว่าคำให้การเรื่องนั้นเป็นความจริงได้
๒.เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นความจริง
เมื่อความรู้ทางปรัชญาเป็นของมนุษย์ ที่เรียกว่า "นักปรัชญา" แต่ธรรมชาติของชีวิตมนุษย์มีอาตนะภายในร่างกายมีข้อจำกัดในการรับรู้สิ่งที่ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตและมนุษย์มักมีอคติต่อผู้อื่น เนื่องจากความโง่เขลา ความกลัว ความเกลียดชัง และความรัก ทำให้ชีวิตของพวกเขามืดมนและขาดปัญญาหยั่งรู้ความจริงของชีวิต จึงไม่มีความสามารถคิด โดยการใช้เหตุผลความจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้เข้าใจได้หรือใช้เหตุผลแยกแยะเรื่องใดจริงหรือเท็จได้ ทำให้เกิดการตัดใจที่ผิดพลาดก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของตนเองได้มีมูลค่าหลายแสนล้านต่อไป
ตัวอย่างเช่น ในสมัยพุทธกาล พราหมณ์บางคนเป็นนักตรรกะ นักปรัชญา มักจะแสดงธรรมในเรื่องใดเรื่องตามปฏิภาณของตนเองและคาดคะเนความจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามหลักเหตุผล แต่นักตรรกะ นักปรัชญาเหล่านั้นมักจะใช้เหตุผลถูกบ้าง ผิดบ้าง เป็นอย่างนั้นบ้าง เป็นอย่างนี้บ้าง เป็นอย่างนั้น เมื่อการใช้เหตุผลอธิบายความจริงของคำตอบยังไม่ชัดเจนว่าเกิดขึ้นอย่างไร คำให้การของพยานนั้นย่อมขาดความน่าเชื่อถือ ไม่สามารถยืนยันความจิงได้ ดังนั้น เมื่อข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ ขาดความน่าเชื่อถือจึงเป็นหน้าที่ของญาณวิทยาที่จะต้องให้คำตอบในเรื่องนี้ เพราะญาณวิทยามีความสนใจศึกษาต้นกำเนิดความรู้ของมนุษย์ องค์ประกอบของความรู้ของมนุษย์ วิธีแสวงหาความรู้ของมนุษย์และความสมเหตุสมผลของความรู้ของมนุษย์ เป็นต้น โดยทั่วไปแล้ว ทุกหลักสูตรที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยทั่วโลกนั้น เป็นความรู้ของมนุษย์ที่เรีกว่า นักปรัชญา นักวิชาการด้านศาสนา นักวิทยาศาสตร์ และพระพุทธเจ้า เป็นต้น ตามหลักญาณวิทยา เราสามารถอธิบายกระบวนการพิจารณาความจริงได้ดังนี้
๒.๑.ต้นกำเนิดความรู้ของมนุษย์นั้น เมื่อเราศึกษาความเป็นของความรู้ของมนุษย์แล้ว ตามหลักฐานที่ปรากฏอยู่ในพระะไตรปิฎกมหาจุฬาลงกรณแล้ว ตามคำสอนของพระพุทธเจ้านั้นเรื่อง "ขันธ์ห้า" นั้น ชีวิตมนุษย์เกิดจากปัจจัยทางร่างกายและจิตใจของมนุษย์ จิตใจอาศัยร่างกายหรือกายอาศัยจิตใจในการรับรู้ (ที่เรียกว่า"วิญญาณ") เรื่องราวต่าง ๆ ที่เข้ามาในชีวิต และสั่งสมเรื่องราวเหล่านั้นเป็นหลักฐานอยู่ในจิตใจของตน(ที่เรียกว่า"สัญญา")แล้วจิตใจก็วิเคราะห์หลักฐานทางอารมณ์โดยอนุมานความรู้ (ที่เรียกว่าสังขาร) เพื่อหาเหตุผลมาอธิบายความจริงในเรื่องนั้น และสั่งสมเป็นความรู้อยู่ในจิตใจของตนต่อไป ดังนั้น ต้นกำเนิดความรู้ของมนุษย์ เกิดเหตุปัจจัยทางร่างกายและจิตใจในการรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ เข้ามาในชีวิตแล้ว สั่งสมอยู่ในจิตใจของมนุษย์นั่นเอง แต่เรื่องราวต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามาในชีวิตของมนุษย์นั้น
๒. องค์ประกอบความรู้ของมนุษย์ เมื่อมนุษย์มีธรรมชาติเป็นผู้คิดจากเรื่องราวต่าง ๆ ที่รับรู้ผ่านเข้าในชีวิต และสั่งสมอยู่ในจิตใจของตน จิตใจของมนุษย์เมื่อรู้สิ่งใดก็คิดจากสิงนั้นว่าอะไร เป็นต้น ตามข้อเท็จจริงเกี่ยวกับมนุษย์เราแยกองค์ประกอบความรู้ได้ดังนี้
๑.มนุษย์คนใด ๒. รับรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ๓. สั่งสมเป็นความรู้ในจิตใจ
๒.๑. มนุษย์คนใด โดยทั่วไปแล้ว มนุษย์เกิดจากปัจจัยทางร่างกายและจิตใจรวมกันในครรภ์มารดาเป็นวลา ๙ เดือนแล้วจากครรภ์มารดาเป็นมนุษย์คนใหม่ ร่างกายและจิตใจต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน หากร่างกายหมดสภาพการใช้งานและจิตใจพึ่งพาอาศัยไม่ได้ก็ไปเกิดในโลกอื่นต่อไปตามกฎธรรมชาิของชีวิตมนุษย์
๒.๒ รับรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เมื่อร่างกายและจิตใจเป็นปัจจัยในการรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ที่เข้าในชีวิต จากการศึกษาหาความรู้โดยการอ่าน การเขียน การพูด และการบรรยาย หรือการลงมือปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมาย
๒.๓ การสั่งสมความรูู้อยูู่ในจิตใจ เมื่อธรรมชาติชีวิตมนุษย์มีร่างกายและจิตใจเป็นปัจจัยในการรับรู้แล้ว หลักจากรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ก็เก็บสั่งสมเป็นความรู้ในจิตใจ
เมื่อผู้เขียนศึกษาหลักฐานในพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬา ฯ พยานวัตถุ และพยานที่ให้ความเห็นเชิงวิชาการไว้ เราได้ยินข้อเท็จจริงเบื้องต้นว่าแคว้นสักกะเป็นรัฐอิสระเล็ก ๆ ตั้งอยู่ติดเชิงเขาหิมาลัย มีอำนาจอธิปไตยในการปกครองประเทศเป็นของตนเอง โดยไม่ขึ้นตรงกับรัฐโกลิยะ ตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าโอกกากราชซึ่งเป็นกษัตริย์ปกครองรัฐโกลิยะ (โกฬิยะ) หลังจากทรงอภิเษกสมรสกับพระนางกัญญาทรงตัดสินพระทัย ที่จะมอบสิทธิและหน้าที่ในการปกครองรัฐโกลิยะให้กับพระโอรสของพระนางกัญญา และทรงโปรดให้พระโอรสของพระมเหสีองค์เก่าไปสร้างพระนครแห่งใหม่นามว่า "พระนครกบิลพัสดุ์แห่งแคว้นสักกะ" ตั้งอยู่ในป่าสาละริมฝั่งสระน้ำโบกขรณีซึ่งเป็นที่ราบลุ่มติดกับเชิงเขาของเทือกเขาหิมาลัย โดยมีแม่น้ำโรหินีเป็นเส้นแบ่งเขตแดนของรัฐสักกะกับรัฐโกลิยะโดยมีพรมแดนของรัฐสักกะ ทิศเหนือติดต่อกับเทือกเขาหิมาลัย ทิศตะวันออกติดต่อกับรัฐโกลิยะ ทิศตะวันตกติดต่อกับกับรัฐโกศล ส่วนทิศใต้ติดต่อกับรัฐโกศล ในสมัยของพระเจ้าโอกกากราชทรงปกครองรัฐโกลิยะ ทรงเลื่อมใสในศาสนาพราหมณ์เชื่อว่าพระพรหมเป็นเทพเจ้าผู้สร้างมนุษย์ และตรากฎหมายแบ่งชั้นวรรณะตามคำแนะนำของนักบวชพราหมณ์ปุโรหิตโดยอ้างว่าพระพรหมสร้างชั้นวรรณะให้กับผู้คนที่พระองค์ทรงสร้างขึ้นมา ได้แก่ วรรณะกษัตริย์ วรรณะพราหม์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร ให้ทำงานตามสิทธิและหน้าที่ตามวรรณะที่ตนเกิดเท่านั้น เมื่อรับฟังเท็จจริงได้เช่นนี้ ก็มีปัญหาที่จะต้องวิเคราะห์กันต่อไปว่า "เราจะรู้ได้อย่างไรว่านี่เป็นเรื่องจริง" เป็นเรื่องที่ผู้เขียนต้องค้นคว้าหาพยานหลักฐานกันต่อไปดังนี้เมื่อผู้เขียนศึกษาข้อมูลจากแหล่งของความรู้ในพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๕ [ฉบับมหาจุฬา ฯ ] มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์[๒๒]เมื่อข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับ ณ นิโครธาราม เขตกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ สมัยนั้นแล ท้องพระโรงหลังใหม่ที่พวกเจ้าศากยะผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ ทางให้สร้างเสร็จได้ไม่นาน ยังไม่มีสมณะ พราหม์หรือใคร ๆ ที่เป็นมนุษย์เข้าพักอาศัย ต่อมาพวกเจ้าศากยะ ผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ได้เสด็จเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วประทับนั่ง ณ ที่สมควรได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอประทานวโรกาสท้องพระโรงหลังใหม่ ที่พวกเจ้าศากยะผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ให้สร้างเสร็จได้ไม่นาน ยังไม่มีสมณะ พราหม์ หรือใคร ๆ ที่เป็นมนุษย์เข้าพักอาศัย ขอพระผู้มีพระภาคทรงใช้ท้องพระโรงนั้นเป็นปฐมฤกษ์แล้ว ข้อนั้นจะพึ่งเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลเพื่อสุขแก่พวกเจ้าศากยะผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ตลอดกาลนาน"
เมื่อผู้เขียนค้นคว้าข้อความจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬา ฯ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางสังคมในสมัยพุทธกาล ก็ได้ยินข้อเท็จจริงว่า เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในพระนครกบิลพัสดุ์ เจ้าศากยะผู้ครองพระนครกบิลพัสด์ุได้สร้างท้องพระโรงหลังใหม่ คำว่า "ท้องพระโรงหลังใหม่" หมายถึง ที่ทำการรัฐสภาแห่งศากยวงศ์ กล่าวคือ เมื่อรัฐสักกะได้สร้างชุมชนกบิลพัสดุ์ได้บึกแผ่นมั่นคง มีอาณาเขตแน่นอนของชุมชนที่สร้างขึ้นมาโดยใช้แม่น้ำโรหินีแบ่งเขตแดนระหว่างรัฐสักกะและรัฐโกลิยะได้อย่างชัดเจนแล้ว มีธรรมของกษัตริย์เป็นหลักในการบริหารปกครองประเทศแล้วตรากฎหมายจารีตประเพณีแบ่งผู้คนเป็น๔ วรรณะ ตั้งแต่ได้รับเอกราชจากรัฐโกลิยะตั้งแต่สมัยพระเจ้าโอกกากราช ดังนั้น เมื่อรัฐสักกะจึงมีอำนาจอธิปไตยเป็นของตัวเอง แต่ระบอบการปกครองรัฐโกลิยะนำมาใช้ในรัฐสักกะด้วย ในยุคพระเจ้าสุทโธทนะทรงเป็นกษัตริย์ปกครองรัฐสักกะ มีระบอบการปกครองแบบสามัคคีธรรม โดยมีสมาชิกรัฐสภาจากวรรณะกษัตริย์ มีส่วนร่วมในการบริหารปกครองรัฐสักกะและใช้อำนาจอธิปไตยทั้ง ๓ อำนาจผ่านรัฐสภาศายวงศ์ ในยุคนั้นที่ทำการของรัฐสภาปห่งราชวงศ์ศากยะเรียกเป็นภาษาบาลีว่า "สันถาคาร" ในภาษาไทยเรียกว่า"ท้องพระโรง" ส่วนภาษาสันสกฤตเรียกว่า "สัณฑาคาร" เป็นสถานที่ประชุมของสมาชิกรัฐสภาศากยวงศ์ซึ่งทำหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ ทำหน้าที่เป็นฝ่ายบริหารในการจัดการปัญหาประเทศ และทำหน้าที่เป็นฝ่ายตุลาการ โดยรัฐสภาศากยวงศ์ทำหน้าที่ตุลาการตัดสินอรรถคดีทั้งปวงที่เกิดขึ้นในรัฐสักกะ
๑.กฎหมายรัฐธรรมนูญแบบจารีตประเพณี เมื่อผู้เขียนได้ศึกษากฎหมายรัฐธรรมนูญของแคว้นสักกะ (Sakka country) ที่เรียกว่า "ธรรมของกษัตริย์" ในอดีตรัฐทุกรัฐ ที่สถาปนาตนเป็นเอกราช จะต้องมีหลักกฎหมายในการปกครองประเทศ ให้มีความสงบสุขบนพื้นฐานของศีลธรรมและกฎหมายเรียกว่า"หลักอปริหานิยธรรม"นั้น แม้จะไม่มีชื่อเรียกที่ชัดเจนว่า "กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรสักกะ" เช่นเดียวกับรัฐในยุคปัจจุบันก็ตาม แต่เมื่อวิเคราะห์เนื้อหาของ "หลักอราชปริหานิยธรรม" แล้ว ผู้เขียนเห็นว่า"มีสภาพบังคับของกฎหมาย" เช่นเดียว กับกฏหมายลายลักษณ์อักษรืที่บัญญัติไว้ในยุคปัจจุบันชัดเจนว่า "ห้ามมิให้ยกเลิกที่บัญญัติไว้ดีแล้ว" และ "ห้ามมิให้บัญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติ" เป็นต้น เมื่อข้อเท็จจริงจากพระไตรปิฎกรับฟังได้เช่นนี้แล้ว ผู้เขียนเห็นว่า"ธรรมของกษัตริย์" นั้นมีศักดิ์เทียบเท่ากฏหมายรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองรัฐในสมัยปัจจุบัน เพื่อสร้างความเจริญรุ่งเรือง มั่นคง และ ความสงบแก่ชนวรรณะสูงเพียงฝ่ายเดียว ส่วนคำว่า "มีสภาพบังคับ" กล่าวไว้ชัดเจนว่า ห้ามมิให้ยกเลิกสิ่งที่ผู้ใหญ่ในบ้านเมืองบัญญัติไว้ดีแล้วดังนั้นกฏหมายที่บัญญัติขึ้นมาในภายหลัง จะขัดแย้งต่อหลักอปริหานิยธรรมของแคว้นสักกะ ด้วยการยกเลิกกฎหมายอันบัญญัติไว้ดีแล้วไม่ได้แต่อย่างใด ตัวอย่างเช่น เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะทรงเห็นปัญหาของจัณฑาลเป็นชนไร้วรรณะเกิดจากการแต่งงานข้ามวรรณะ จึงขาดสิทธิหน้าที่ในการประกอบอาชีพตามกฎหมาย จึงมีฐานะยากจนไม่มีทำกินเป็นของตนเอง ต้องชีวิตอย่างคนไร้บ้านสองข้างถนนในพระนครกบิลพัสดุ์ เป็นต้น เจ้าชายสิทธัตถะทรงเกิดความเศร้าสลดหดหู่ต่อพวกจัณฑาล ที่ได้รับทุกขเวทนาตลอดชีวิต ไม่มีโอกาสกลับคืนสู่สถานะเดิมในสังคมเลย พระองค์ทรงมีพระเมตตากรุณาธิคุณอย่างสูงต่อพวกจัณฑาล ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมโลก เป็นผู้ร่วม เกิด แก่เจ็บ ตาย ในชีวิตเช่นเดียวกัน อยากช่วยให้คนจัณฑาลพ้นจากความทุกข์ มีสิทธิและหน้าที่ในการประกอบอาชีพเท่าเทียมกับชนวรรณะอื่น เจ้าชายสิทธัตถะจึงเสนอยกเลิกกฎหมาย ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีว่าด้วยการแบ่งชนชั้นวรรณะในแคว้นสักกะต่อรัฐสภาศากยวงศ์ แต่รัฐสภาศากยวงศ์ไม่อนุมัติให้ออกกฎหมายเพราะขัดต่อหลักอปริหานิยธรรม เป็นสาเหตุให้พระองค์ทรงออกผนวช เป็นต้น
ปัญหาต้องพิจารณาต่อไปว่า แคว้นสักกะนั้นได้นำแนวคิดปรัชญาศาสนาพราหมณ์มาใช้ในการออกกฎหมายปกครองแคว้นสักกะหรือไม่ ในแนวคิดทางอภิปรัชญาของศาสนาพราหมณ์ที่ว่าด้วยปัญหาเกี่ยวกับความจริงของแก่นแท้ในชีวิตมนุษย์มนุษย์เชื่อว่าตัวเองถูกสร้างขึ้นมาจากพระวรกายของพระพรหมเองเมื่อพระองค์ทรงสร้างมนุษย์และสร้างสิทธิและหน้าที่ให้กับชาวสักกะที่พระองค์ทรงสร้างขึ้นมาทำอาชีพตามวรรณะที่ตนกำเนิดมา เมื่อผู้เขียนระลึกถึงข้อมูลได้เช่นนี้ผู้เขียนเห็นว่าข้อเท็จจริงระบุไว้อย่างชัดเจนว่า วรรณะ ๔ ได้แก่วรรณะมีหน้าที่ปกครองประเทศ วรรระพราหมณ์มีหน้าที่สาธยายพระเวท วรรณะแพศย์มีหน้าที่เกษตรกรรม ส่วนวรรณะเหตุผลของคำตอบว่าทำไมความเชื่อในเรื่อง วรรณะยังคงฝังรากลึกอยู่ในจิตวิญญาณของชนชาวอินเดียนั้นมายาวนานจนถึงทุกวันนี้เป็นเพราะการวางรากฐานเรื่องวรรณะโดยสีผิวของประชาชนเกณฑ์ตัดสินความแตกต่างกันมายาวนานและเหตุปฏิรูปสังคมมิได้ เพราะระบบกฎหมายรองรับความเชื่อนั้นด้วย
เมื่อชนวรรณะกษัตริย์ เป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ปกครองนั้นได้ ทำหน้าที่ของวรรณะกษัตริย์ให้สมบูรณ์ด้วยการตรากฎหมายวรรณะ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ ๑. ชนพวกวรรณะสูงได้แก่ วรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ และวรรณะแพศย์ เป็นต้น ๒. ชนวรรณะต่ำคือ พวกวรรณศูทรเป็นชาวสักชนบทเชื้อสายดราวิเดียน ผิวพรรณวรรณะดำ รัฐสภาศากยวงศ์จะให้อำนาจนิตบัญญัติออกกฏหมายยกเลิกวรรณะในแคว้นสักกะไม่ได้เพราะขัดต่อกฎหมายรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศได้ผลของการใช้อำนาจอธิปไตยแบ่งประชาชนเป็น ๔ วรรณะให้สิทธิหน้าหน้าที่แก่ประชาชนประกอบอาชีพตามวรรณะของตนที่กำเนิดมากล่าวคือ วรรณะพราหมณ์มีหน้าที่สาธยายพระเวท วรรณะกษัตริย์มีหน้าปกครองประชาชนวรรณะแพศย์มีหน้าที่ถือการเกษตรกรรม วรรณะศูทรมีหน้าที่รับใช้คนตระกูลสูงและ ตระกูลจัณฑาลไม่มีวรรณะจึงไม่มีหน้าที่พวกดราวิเดียรจัดอยู่ในวรรณะศูทรไม่มีสิทธิหน้าที่ในการปกครองประเทศเหมือนวรรณะกษัตริย์ ไม่มีสิทธิในการศึกษาปรัชญาและศาสนาพราหมณ์เช่นเดียวกับชนในวรรณะพราหมณ์เพื่อทำหน้าที่สวดมนต์ในคัมภีร์พระเวททำพิธีกรรมสรรเสริญเทพเจ้าให้ช่วยผู้เหลือผู้คนให้พ้นจากความทุกข์ของชีวิตได้ส่วนพวกวรรณะศูทรมีหน้าที่รับใช้พวกตระกูลสูงมีรายได้ค่าแรงต่ำในการทำงานให้คนวรรณะสูง เมื่อไม่มีเงินจึงไม่มีสิทธิเป็นเจ้าของที่ดินทำการอาชีพเกษตรกรรมแต่อย่างใด จึงรับจ้างเป็นกุลีให้พวกพ่อค้าในวรรณะแพทย์ขนส่งสินค้าไปขายต่างแว่นแคว้น มีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าวรรณะจัณฑาลเพราะมีที่อยู่อาศัยในเรือนคนใช้ของคนวรรณะสูงที่เป็นกษัตริย์พราหมณ์เศรษฐีบ้าง ส่วนพวกพวกจัณฑาลมีสาเหตุเกิดจากการแต่งงานข้ามวรรณะเช่น วรรณะศูทรแต่งงานกับวรรณะแพศย์ ลูกเกิดที่เกิดมาเป็นพวกจัณฑาลเพราะฝ่าฝืนพระประสงค์ของพระพรหม ลูกที่เกิดจากการแต่งงานข้ามวรรณะนี้ไม่รู้จะจัดให้อยู่วรรณะไหนจึงไม่เป็นยอมรับกันในวงสังคมของแคว้นสักกะถูกรังเกียจเดียดฉันท์จากคนวรรณะสูงถูกเลือกปฏิบัติไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าไปสู่เขตเทวสถานในศาสนาพราหมณ์เพื่อการสวดมนต์สรรเสริญเทพเจ้าหรือฟังการแสดงธรรมของพวกพราหมณ์ นอกจากพวกไม่ได้รับอนุญาตให้ไปตักน้ำในบ่อสาธารณะของหมู่บ้านเพราะจะทำให้เกิดเสนียดจัญไรชีวิตมีมลทินแปดเปื้อน แม้กระทั่งการไปยืนเหยียบเงาของพวกวรรณะสูง พวกเขาต้องทำพิธีอันศักดิ์สิทธิ์ชำระล้างสิ่งแปดเปื้อนชีวิตของตัวเองให้หมดสิ้นไป และพวกจัณฑาลจึงถูกลงโทษอย่างรุนแรง

เมื่อไม่มีชนในวรรณะใดยอมคลุกคลีคบค้าสมาคมด้วย พวกจัณฑาลเป็นสัตว์สังคมจึงจำเป็นต้องสร้างสังคมของตัวเองขึ้นมาเพื่อใช้ชีวิตมีความสุขได้เฉพาะในกลุ่มของพวกเขา วิธีคิดของการสร้างสังคมตนเองคือการแต่งงานและมีลูกโดยไม่คุมกำเนิดทำให้พวกเขามีลูกมากกว่าคนในวรรณะอื่น ๆ ครอบครัว ๑ อาจมีกว่า ๑๐ คน ตั้งเพิงขึ้นมุงหลังคาด้วยเศษใบไม้หญ้าคา เป็นที่อยู่อาศัยได้ชั่วคราวในริมสองข้างถนนสายต่างๆ ในกรุงกบิลพัสดุ์ เป็นต้น ในบางครั้งคนเกิดขึ้นมาในวรรณะศูทรเกิดมาแล้วพ่อแม่ไม่มีปัญญาเลี้ยงถูกขายไปเป็นทาสให้แก่พ่อค้า คหบดีก็มี.
๒. รัฐบาล
เป็นนิติบุคคลหนึ่งที่ตั้งขึ้นมาตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ เพื่อทำหน้าที่บริหารปกครองรัฐให้เป็นไปโดยสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน เมื่อพวกอารยันได้สถาปนารัฐโกลิยวงศ์ขึ้นมาโดยมีพระเจ้าโอกกากราชทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งพระราชวงศ์โกลิยะ และทรงโปรดให้พระราชโอรสไปสร้างรัฐใหม่เรียกว่าแคว้นสักกะ สร้างพระนครใหม่ในป่าสาละเป็นที่อาศัยของฤาษีกบิล ห่างจากพระนครเทวทหะ ปัจจุบันเรียกว่าเมืองรามคาม ออกไปเป็นระยะทางประมาณ ๑๐๐ กิโลเมตร สร้างพระราชวงศ์ใหม่เรียกว่า พระราชวงศ์ศากยะ มีธรรมของกษัตริย์เป็นกฎหมายสูงในการปกครองรัฐเรียกว่า"หลักอปริหานิยธรรม" เมื่อรัฐสักกะมีปัญหาทางการเมืองเพราะพวกดราวิทเดียนไม่ยอมอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยของอารยัน จึงออกกฎหมายแบ่งชนชั้นวรรณะ เพื่อจำกัดสิทธิหน้าที่ในการประกอบอาชีพ โดยอ้างเหตุของความเชื่อในพระพรหมว่าเป็นเทพเจ้าผู้สร้างมนุษย์ทุกคน วรรณะกษัตริย์มีสิทธิหน้าที่ในการปกครองรัฐการมีส่วนร่วมในการปกครองโดยชนวรรณะกษัตริย์ทั้งหมดย่อมเป็นไป มิได้จำเป็นต้องแต่งตั้งสมาชิกรัฐสภาศายวงศ์ จากชนวรรณะกษัตริย์รูปแบบการบริหารรัฐโดยคณะรัฐบาลคือสมาชิกรัฐสภาศากยวงศ์ทำหน้าที่บริหารจัดการปัญหาของประเทศให้เกิดความสงบเรียบร้อยด้วยศีลธรรมอันดีของประชาชน ในขณะเดียวกันก็ทำหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภาศากยวงศ์จากชนวรรณะกษัตริย์ โดยมีประธานรัฐสภามาจากวรรณะกษัตริย์ได้รับการเลือกตั้งของสมาชิกของรัฐสภาที่ทำการรัฐสภาเรียกว่า"สัณฐาคาร" วิธีการประชุมของรัฐสภาจะดำเนินการตามหลักอปริหานิยธรรมทำหน้าที่นิติบัญญัติกฏหมายขึ้นตามแนวคิดในหลักปรัชญาศาสนาพราหมณ์ ตามกฎหมายอปริหานิยธรรมนั้น กฎหมายใดตราขึ้นมาและประกาศใช้แล้วจะยกเลิกไม่ได้เพราะขัดต่อธรรมกษัตริย์ในการปกครองประเทศ รัฐสภาเป็นผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและแต่งตั้งให้สมาชิกของศากยวงศ์คนใดคนหนึ่งทำหน้าที่เป็นพระมหากษัตริย์ปกครองรัฐสักกะชนบทดังนั้นสมัยก่อนพุทธกาลพระเจ้าสุทโธทนะทรงได้รับการเลือกตั้งจากรัฐสภาเป็นประธานรัฐสภาและแต่งตั้งเป็นพระมหากษัตริย์มีหน้าที่บริหารปกครองแคว้นสักกะ ทรงเป็นประธานรัฐสภามีหน้าที่นิติบัญญัติกฏหมาย และใช้อำนาจตุลาการนั้นเป็นต้น การปกครองลักษณะเดียวกันนี้มีในแคว้นวัชชี มัลละกษัตริย์แห่งเมืองปาวาและเมืองกุสินาราเป็นต้น
๓. ศาสนาพราหมณ์ ตั้งถิ่นฐานในดินแดนที่อุดมสมบูรณ์แห่งเชิงเขาหิมาลัย ประชาชนจึงมีเวลาพักผ่อนเพราะไม่ต้องดิ้นรนออกไปประกอบอาชีพ พวกเขาจึงมีเวลาคิดหาเหตุผลของคำตอบในความรู้และความจริงในชีวิตตามแนวคิดของปรัชญาศาสนาพราหมณ์ มีการตั้งสถาบันการศึกษาเป็นกิจลักษณะ ชีวิตจึงมีความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าทางด้านวิญญาณเพราะมีเหตุผลในการกระทำ และยกย่องศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาประจำชาติ เพราะเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่ในแคว้นสักกะ เมื่อพระพรหมจึงเป็นเทพเจ้าสูงสุดเชื่อว่าเป็นอยู่จริงและสร้างมนุษย์ทุกคนในแคว้นนี้จากส่วนต่าง ๆ ของพระวรกายพรหม เมื่อพระพรหมสร้างมนุษย์เกิดมาแล้ว ย่อมกำหนดโชคชะตาชีวิตให้พวกทำงานตามหน้าที่ต่าง ๆ กันในสังคม เพื่อความเจริญรุ่งเรืองเพียงฝ่ายเดียวไม่มีวันตกต่ำในสังคมของแคว้นสักกะ ยามชีวิตเผชิญกับเภทภัยต่าง ๆ ไม่ว่าจะเกิดจากเหตุผลใดก็ตาม พระองค์ต้องประทานชีวิตให้พวกเขามีชีวิตกลับมาความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าเช่นเดิม ด้วยเหตุผลของคำตอบที่ได้วิเคราะห์จากพยานเอกสาร พยานวัตถุ และข้อมูลที่ได้ศึกษาจากแหล่งต่างๆ ในโลกออนไลน์ จึงรับฟังได้ว่า รัฐสักกะเป็นพรหมแดนทางตอนเหนือติดกับเชิงเขาหิมาลัย เป็นชุมชนทางการเมืองที่มีผู้คนอาศัยอยู่จริง การแบ่งชนชั้นวรรณะยังมีให้เห็นอยู่ทั่วไปซึ่งเป็นมรดกทางความคิดมาถึงยุคปัจจุบัน และมีเทวสถานหลายแห่งของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูปรากฎเป็นหลักฐานรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสจริง เมื่อมนุษย์มีวิธีการคิดหาเหตุผลของคำตอบจนกลายเป็นความรู้และความจริงมีเนื้อวิชาการของวิชาการด้านปรัชญาและศาสนามากยิ่งนั้น ก็นำความรู้ที่มีเหตุผลนั้นไปพัฒนาเป็นปรัชญาการเมือง เพื่อวิเคราะห์หาเหตุผลของคำตอบทางการเมืองในการออกกฎหมาย เพื่อใช้เป็นสภาพบังคับให้ประชาชนต้องปฏิบัติตาม หากมิได้ปฏิบัติตามย่อมได้รับผลร้ายจากการกระทำที่ฝ่าฝืนบทบัญญัติของกฎหมายนั้นดังเช่นกฎหมายชนชั้นวรรณะเป็นกฎหมายจารีตประเพณีที่แบ่งชั้นเป็น ๔ วรรณะโดยอาศัยความเชื่อในปรัชญาศาสนาพราหมณ์ มีสภาพบังคับตามกฎหมายว่าผู้ใดฝ่าฝืนถูกลงพรหมทัณฑ์จากสังคมจนกลายเป็นจารีตประเพณีที่ปฏิบัติสืบเนื่องกันมายาวนาน๓,๐๐๐ กว่าปี
เป็นกฎหมายยกเลิกมิได้เพราะขัดธรรมกษัตริย์ในการปกครองประเทศในยุคนั้นดังนั้น รัฐศาสนานั้นจึงถือได้ว่ามีต้นกำเนิดมาจากรัฐสักกะและแคว้นโกลิยวงศ์ โดยเอาความเชื่อในปรัชญาศาสนาพราหมณ์นั้น มาคิดหาเหตุผลของคำตอบจนกลายเป็นกฎหมายจารีตประเพณีสืบเนื่องกันมายาวนาน แม้รัฐเหล่านั้นจะสูญสิ้นอำนาจอธิปไตยไปโดยสละอำนาจอธิปไตยให้แก่รัฐบาลกลางของประเทศสาธารณรัฐอินเดีย ที่เกิดจากการรวมตัวของทุกแคว้นในชมพูทวีป ตั้งเป็นประเทศขึ้นใหม่เรียกก็ตามแต่ความเชื่อที่เป็นตัวตนที่ฝังรากลึกลงสู่ในจิตใต้สำนึกยังคงอยู่ต่อไปแม้จะเวียนว่ายตายเกิดต่อไปไม่รู้กี่อสงไขยหรือกี่แสนกัปป์ก็ตาม ผู้เขียนถือว่ารัฐสักกะเป็นรัฐศาสนาเนื่องจากมีหลักฐานที่แน่นหนากล่าวไว้ในพระไตรปิฎกว่า ระบบวรรณะเกิดจากความเชื่อเรื่องพระพรหมในฐานะเป็นผู้สร้างมนุษย์ขึ้นและทำให้พวกเขามีสิทธิและหน้าที่ในการประกอบอาชีพตามวรรณะที่ผู้คนเกิดมา สำหรับระบบวรรณะที่ยืนหยัดมาจนถึงทุกวันนี้ เนื่องจากมีการตรากฎหมายเพื่อรองรับการแบ่งวรรณะและประกาศใช้เพื่อบังคับประชาชนในรัฐนั้น ดังนั้นเมื่อรัฐสภาศากยวงศ์ได้เห็นภัยจากพราหมณ์มิลักขะในการทำพิธีบูชายัญให้กับมหาราชาแคว้นต่าง ๆ จนที่ศรัทธาและได้รับการแต่งตั้งเป็นปุโรหิตที่ปรึกษาของมหาราชแคว้นต่าง ๆ จนมีอิทธิพลทางความคิดต่อนโยบายในการบริหารปกครองรัฐสักกะ จึงหาทางจำกัดสิทธิและหน้าทีของชาวสักกะเชื้อสายมิลักขะในการประกอบพิธีบูชายัญ การศึกษา และการประกอบอาชีพ โดยรัฐสภาศากยวงศ์ ได้นำแนวคิดในปรัชญาศาสนาพราหมณ์ ตราเป็นกฎหมายแบ่งชั้นวรรณะโดยแบ่งประชาชนออกเป็น ๔ วรรณะ ทำงานตามสิทธิและหน้าที่ของตนเท่านั้น ทำให้เกิดปัญหาทางสังคมเพราะความรักไม่มีวรรณะ ทำให้เกิดปัญหาของคนจัณฑาลที่เกิดจากการแต่งงานข้ามวรรณะไม่รู้จะจัดให้อยู่ในวรรณะใดจึงไม่มีวรรณะที่ตนเกิดมาดังนั้นพวกเขาจึงขาดสิทธิและหน้าที่ในการประกอบอาชีพตามกฎหมายวรรณะ ดั้งนั้นการแบ่งวรรณะของคนเป็นการจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการเลือกทางชีวิตในสังคมทำให้ประชาชนแรงบันดาลพัฒนาศักยภาพของชีวิตอันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวเท่าทันอารยะประเทศ ประชาชนถูกการเลือกปฏิบัติเหมือนดั่งชีวิตถูกพระพรหมลิขิตโชคชะตาไว้ รัฐสักกะชนบทจึงเป็นรัฐศาสนาในพระไตรปิฎกด้วยเหตุผลของคำตอบที่กล่าวมาแล้วข้างต้น.
บรรณานุกรม
[๑]https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-2/epiststemology/02.html
-พระไตรปิฎกเล่มที่ ๙ พระสุตตัตปิฎกเล่มที่ ๑ (ฉบับมหาจุฬา ฯ) ฑีฆนิกาย สีลกขันธวรรค ๓. อัมพัฏธสูตรกล่าวว่า.....ข้อ (๒๗๖).
[๑]https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-2/epiststemology/02.html
-พระไตรปิฎกเล่มที่ ๙ พระสุตตัตปิฎกเล่มที่ ๑ (ฉบับมหาจุฬา ฯ) ฑีฆนิกาย สีลกขันธวรรค ๓. อัมพัฏธสูตรกล่าวว่า.....ข้อ (๒๗๖).
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น